THE DEFINITIVE GUIDE TO ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

The Definitive Guide to ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

The Definitive Guide to ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

Blog Article

กล่าวโดยสรุป ผู้เขียนพบว่าปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาของไทย โดยส่วนใหญ่แล้ว จะเป็นปัญหาที่มาจากปัจจัยที่สามารถปรับเปลี่ยนแก้ไขได้ (เช่น การขยายขนาดโรงเรียน การเพิ่มจำนวนครู การให้ความรู้แก่บิดามารดา) มากกว่าที่จะมาจากปัจจัยที่คงที่ ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ (เช่น ความฉลาดทางสติปัญญา) ดังนั้น หากภาครัฐมีการกำหนดเป้าหมายและวิธีการที่เหมาะสม ย่อมสามารถที่จะบรรเทาปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาของไทยให้ลดลงได้

ปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาของไทยมีทั้งปัจจัยระดับโครงสร้าง และปัจจัยระดับปัจเจกบุคคล จึงทำให้ทิศทางการศึกษาของไทยยุคใหม่มีแนวโน้มทั้งทิศบวก และทิศทางลบ ดังนี้

สถานการณ์ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาในประเทศไทย

การขาดแคลนครูผู้สอนเป็นปัญหาที่สะท้อนให้เห็นถึงระบบโครงสร้างในการผลิตครู เพื่อเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของระบบทางการศึกษา เนื่องจากอัตราการแข่งขันในการสอบบรรจุข้าราชการครูที่สูงมาก ในขณะที่อัตราการรับเข้าบรรจุเองก็น้อยมาก ส่งผลให้ขาดแคลนครูผู้สอนในบางรายวิชาอยู่เป็นจำนวนมาก

การลดความเหลื่อมล้ำด้านสุขภาพด้วยการเพิ่มการเข้าถึงเครื่องมือแพทย์และแพลตฟอร์มดิจิทัลด้านสุขภาพ

เศรษฐกิจและความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศ เศรษฐกิจระหว่างประเทศ

Often Enabled Essential cookies are Unquestionably essential for the web site to function thoroughly. These cookies make certain fundamental functionalities and security measures of the website, anonymously.

สังคมไทยยังคงเป็นสังคมที่ให้ความสำคัญ และให้คุณค่ากับการเรียนการสอนในเชิงทักษะทางด้านวิชาการมากกว่าทักษะทางด้านสังคม รวมถึงระยะเวลาที่ยาวนานในการเล่าเรียน จึงทำให้เยาวชนขาดทักษะทางด้านสังคม ขาดการเรียนรู้เพื่อการเสริมสร้างทักษะชีวิต และสร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้คน ทำให้แม้ว่าจะมีความรู้ และทักษะที่ดีในเชิงวิชาการ แต่กลับไม่สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้

ปลดล็อกท้องถิ่น – โรงเรียน เพิ่มโอกาสกระจายทรัพยากร

เรียนรู้วิชาชีพจากองค์ความรู้ภายในชุมชน

คู่มือหรือแนวทางการให้บริการสำหรับผู้รับบริการหรือผู้มาติดต่อ

บทสรุปของชัยยุทธ ปัญญสวัสดิ์สุทธิ์ และคณะ หลังผ่านการศึกษาวิจัย ลงพื้นที่ และประมวลผลหลากหลายขั้นตอน คือการกลับมาประเมินจำนวนนักเรียนยากจน ‘ที่แท้จริง’ ทั่วทั้งประเทศในระบบฐานข้อมูลของสพฐ.

ถึงตอนนี้ บางคนอาจตั้งคำถามว่าโรงเรียนเรียนขนาดเล็ก เด็กก็น้อย ทำไมครูต้องเพิ่มจำนวนให้เท่ากับเด็ก? ดร.อารีย์ ให้คำตอบว่าแม้จำนวนเด็กจะน้อย แต่พวกเขาก็เรียนคนละชั้น อายุไม่เท่ากัน นอกจากนี้ครูหลายคนยังมีภาระอื่นๆ นอกจากการสอน ทั้งทำกับข้าว ขับรถรับส่งก็มี บางแห่งยังทำหน้าที่เป็นภารโรง ครูหนึ่งคนจึงต้องรับภาระค่อนข้างเยอะและยังมีค่าสาธารณูปโภคที่ไม่แตกต่างกับโรงเรียนขนาดใหญ่อื่นๆ อีกด้วย

ขณะเดียวกัน ประเพณีของชนเผ่า เช่น ม้ง ซึ่งมีประเพณีฉุดหญิงสาวไปเป็นภรรยา ทำให้นักเรียนบางคนต้องออกจากโรงเรียนกลางคัน หรือเทศกาลกินวอของหลายชนเผ่า ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา ก็ส่งผลให้เด็กขาดเรียนติดต่อกันหลายวันจนกระทบต่อสิทธิ์เข้าสอบของตัวเด็กและกลายเป็นปัญหาของโรงเรียน

Report this page